วันอาทิตย์ที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

โค้งแนวดิ่ง : Vertical Curve

Vertical Curve : โค้งแนวดิ่ง


            เมื่อความลาดชันตามแนวเส้นทางมีการเปลี่ยนแปลง (ทางขึ้น  ทางราบ  และทางลง)  เพื่อให้รถวิ่งได้ราบเรียบจะต้องคอยๆ ปรับความลาดชันทีละนิดจากความลาดชันเดิมไปสู่ความลาดชันใหม่ หรือเรียกว่า การวางโค้งแนวดิ่ง  รูปแบบโค้งแนวดิ่งทั่วไปออกแบบเป็นโค้งพาราโบลา 
Parabolic function
          Constant rate of change of slope
          Implies equal curve tangents
y = ax2 + bx + c
          y is the roadway elevation x stations (or meter) from the beginning of the curve


โค้งคว่ำ Crest Vertical Curve
จาก     y = ax2 + bx + c
          ที่จุด PVC : x = 0 และ y = c
          ที่จุด
PVC : x = 0 และ dy/dx = b = G1
         ที่จุดอื่นๆ  : d2x/d2y = 2a = (G2-G1)/L ; a = (G2-G1)/2L



Ex. จากข้อมูลสำรวจ รูปโปรไฟล์แสดงตามรูป โดยกำหนดให้จุดเริ่มต้นโค้งในแนวดิ่งอยู่ที่ sta 5+250 ค่าระดับอยู่ที่ Elv +159.00 ทำการออกแบบโค้งดิ่งโดยที่ใช้ grade +2% สำหรับทางขึ้นและ   สำหรับทางลงเนิน grade -4.5%   ที่ความยาวโค้ง 200 เมตร โดยกำหนดจุดเปลี่ยนโค้ง (PVI) อยู่ที่ตำแหน่งกึ่งกลางความยาวโค้ง



โค้งหงาย Sag Vertical Curve






ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น